เมนูหน้าเว็บ

วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

An end to drug errors?


An end to drug errors?

Mint Solutions tackles medication errors with scanning system that ensures patients get the right pills. 



MIT alumni entrepreneurs Gauti Reynisson MBA ’10 and Ívar Helgason HS ’08 spent the early 2000s working for companies that implemented medication-safety technologies — such as electronic-prescription and pill-barcoding systems — at hospitals in their native Iceland and other European countries.
But all that time spent in hospitals soon opened their eyes to a major health care issue: Surprisingly often, patients receive the wrong medications. Indeed, a 2006 report from the Institute of Medicine found that 1.5 million hospitalized patients in the United States experience medication errors every year due, in part, to drug-administration mistakes. Some cases have adverse or fatal results.
Frustrated and seeking a solution, the Icelandic duo quit their careers and traveled to MIT for inspiration. There, they teamed up with María Rúnarsdóttir MBA ’08 and devised MedEye, a bedside medication-scanning system that uses computer vision to identify pills and check them against medication records, to ensure that a patient gets the right drug and dosage.
Commercialized through startup Mint Solutions, MedEye has now been used for a year in hospitals in the Netherlands (where the startup is based), garnering significant attention from the medical community. Through this Dutch use, the co-founders have determined that roughly 10 percent of MedEye’s scans catch medication errors.
“Medication verification is a pinnacle point of medical safety,” says Helgason, a physician and product developer. “It’s a complicated chain of events that leads up to medication mistakes. But the bedside is the last possible place to stop these mistakes.”
Mint Solutions’ aim, Reynisson says, is to aid nurses in rapidly, efficiently, and correctly administering medication. “We want the device to be the nurse’s best friend,” says Reynisson, now Mint’s CEO. The device, he adds, could yield savings by averting medication mishaps, which can cost hundreds of millions of dollars.
Currently, the startup has raised $6 million in funding, and is ramping up production and working with a Dutch health care insurance company to bring the MedEye to 15 hospitals across the country, as well as Belgium, the United Kingdom, and Germany.
Systematic approach
To use the MedEye — a foot-high box in a white housing — a nurse first scans a patient’s wristband, which has a barcode that accesses the patient’s electronic records. The nurse then pushes the assigned pills into the MedEye via a sliding tray. Inside the device, a small camera scans the pills, rapidly identifying them by size, shape, color, and markings. Algorithms distinguish the pills by matching them against a database of nearly all pills in circulation.
Although the hardware is impressive, much innovation is in MedEye’s software, which cross-references (and updates) the results in the patient’s records. Results are listed in a simple interface: Color-coded boxes show if pills have been correctly prescribed (green), or are unknown or wrong (red). If a pill isn’t in MedEye’s database — because it’s new, for instance — the system alerts the nurse, who adds the information into the software for next time.
“It does all the querying for the right medication, for the right patient, and takes care of the paperwork,” Helgason says. “We save a lot of time for nurses that way.”
Similar systems exist for catching medication errors: About 15 years ago, some hospitals began using barcode systems — which Reynisson and Helgason actually helped install in some Dutch and German hospitals. These systems also require nurses to use a handheld scanner to scan a patient’s wristband, and then the imprinted barcodes on each pill container.
“But the hurdle has been getting these installed,” Reynisson says. “Companies sell medications with barcodes, others sell software, or barcode scanners. Hospitals have to make all these things work together, and it’s hard for small and medium hospitals to afford. No one is selling turn-key  barcode systems.”
That’s where MedEye is truly unique, Helgason says: As an entire system that requires no change in a hospital’s workflow or logistics, “it’s more usable and more accessible in health care facilities.”
Feedback from nurses using MedEye to ease their workloads has been positive, Reynisson says. And errors are caught more often than expected. In fact, he recalls a memorable moment last year when a nurse at the Dutch hospital demonstrated the MedEye for department heads on a random patient. The nurse scanned four pills, which had been assigned to the patient, and added an extra, erroneous pill to show how MedEye caught errors.
“MedEye showed the extra pill was incorrect. But, to his surprise, so were two other pills that the nurse had assumed were correct, because another nurse had dispensed those,” Reynisson says. “Goes to show that even with full focus, it is common for nurses to be in a position where they are expected to catch errors made in other parts of the medication-delivery process.”
Vision for new technology
Helgason conceived of MedEye while studying in the MIT-Harvard Health Sciences and Technology program. In a computer-vision class in the Computer Science and Artificial Intelligence Laboratory, he saw that advances in 3-D object-recognition technology meant computers could learn objects based on various characteristics.
At the same time, he started taking heed of MIT’s burgeoning startup ecosystem, prompting him to contact his longtime medical-device colleague. “I remember Ívar called me one day and said, ‘Gauti, you have to come to MIT: Everyone’s starting companies,’” says Reynisson, a trained programmer who wrote early object-recognition code for the MedEye.
Seeking a change of pace from computer science, Reynisson enrolled in the MIT Sloan School of Management — where he saw that Helgason was right. “There was a spirit there, where you have to go for it, find a solution and market it, because if you don’t, no one else will,” he says. “That attitude, and seeing others do it, really inspires you to start a company and take the risk.”
Mint launched in 2009 with an initial concept design for MedEye. Entering that year’s MIT $100K Entrepreneurship Competition helped the three co-founders fine-tune their business plan and startup pitch, receiving help from mentors, professors, and even business-savvy students.
“That’s when we started to think of a business beyond the technology,” Reynisson says. “We left with a fairly sizeable business plan to take to investors and get funding.”
The team felt unsure of the technology at first. But a 2010 demonstration at a Dutch hospital of an early prototype — a bulkier version of the MedEye, with off-the-shelf parts, constructed at MIT — changed their perception. The hospital had to identify about 250 small, white pills of different medications that, in fact, all looked the same.
“We tried them all in our prototype at once, and it worked,” Reynisson says. “That’s when we realized what a change it would be for a hospital to collect data and important safety information, and get it fast and efficiently, without asking the nurse to pick up a pen.”
Mint Solution now has 40 MedEye systems ready to deploy across Europe in the coming months, with hopes of gaining some client feedback. In the future, Reynisson says, the startup has its sights on developing additional medication-safety technologies.
“At the core of the startup is this belief that better information technology in hospitals can both increase efficiency and safety, and lead to better outcomes,” he says. “We’re starting with verification of medication. But who knows what’s next?”
 

Hacking for good


Hacking for good

Alumni's software uses hacking tricks to catch vulnerabilities on websites before they're exploited. 

Hacking is often done with malicious intent. But the two MIT alumni who co-founded fast-growing startup Tinfoil Security have shown that hacking can be put to good use: improving security.
Through Tinfoil, Michael Borohovski ’09 and Ainsley Braun ’10 have commercialized scanning software that uses hacking tricks to find vulnerabilities in websites and alert developers and engineers who can quickly fix problems before sites go live.
Thousands of startups and small businesses, as well as several large enterprises, are now using the software. And around 75 percent of websites scanned have some form of vulnerability, Braun says. Indeed, a ticker on Tinfoil’s website shows that the software has caught more than 450,000 vulnerabilities so far.
“Our No. 1 goal is making sure we’re securing the Internet,” says Braun, Tinfoil’s CEO and a graduate of MIT’s brain and cognitive sciences program.
While at MIT, Braun and Borohovski ran with a group of computer-savvy students who extensively researched security issues, inside and outside the classroom. For his part, Borohovski, a lifelong hacker, took many classes on security and wrote his senior thesis on the topic of Web security.
Tinfoil started as an enterprise, however, when Braun and Borohovski reconnected in Washington after graduating, while working separate security gigs. As a hobby, they caught vulnerabilities in websites that required their personal information, and then notified site administrators.
“We’d get emails back saying they’d fixed the vulnerability. But we could exploit it again,” Braun says. “Eventually, we’d just walk them through how to fix it.”
When job offers started pouring in, the duo saw potential. “We said, ‘If people want to hire us to do this, then there’s a need,’” says Borohovski, Tinfoil’s chief technology officer, who helped build the firm’s software.
Returning to Boston, Braun and Borohovski founded Tinfoil, with the help of MIT’s Venture Mentoring Service, to launch the product. The startup has grown rapidly ever since: Recently, it partnered with CloudFlare, adding to a list of partnerships with Heroku, Rackspace, and others
 

Computer Technology

Computer Technology

The computer technology program transforms students into technology leaders in a sustainable global economy.  This is achieved by presenting students with a strong foundation in the concepts, theories, and practices that serve as the basis for the varying aspects of information technology.  This includes the design, implementation, and adminstration of secured systems and networks.  Students have the opportunity to develope expertise in specialty areas of interest through electives in higher level technology courses.

Since the purpose of information technology is to facilitate the goals and objecties of a business or organization, students are required to complete the Minor in Business Administration.  With an understanding of how organizations operate, students will be able to move effectively design systems and networks that will support the needs of the business or organization.

To gain real-world experience in today's computer environments, you are also required to complete an internship.

ส่วนประกอบภายในเครื่อง / คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีชิ้นส่วนภายในหลายชิ้น อุปกรณ์แต่ละชิ้นทำหน้าที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้

1. เมนบอร์ด (Motherboard) เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลักของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชิ้น ของคอมพิวเตอร์ จะต้องต่อเชื่อมเข้ากับเมนบอร์ดนี้

2. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU-Central Processing Unit) เป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานหลักของเครื่อง ทำหน้าที่ในการคำนวณประมวลผลและควบคุมอุปกรณ์ อื่นๆ ในระบบ ประกอบด้วยหน่วยย่อย 3 หน่วย คือ หน่วยความจำหลัก หน่วยคณิตศาสตร์และตรรกะ หรือหน่วยคำนวณ และหน่วยควบคุม

3. หน่วยความจำแรม (RAM – Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในไมโคร คอมพิวเตอร์ และเป็นส่วนที่ใช้สำหรับทำงาน ใช้บันทึกข้อมูลหรือโปรแกรมเรียกคำสั่งจากหน่วยความจำหลัก เมื่อปิดเครื่อง ค่าที่อยู่ในแรมจะหายไป

4. หน่วยความจำรอม (ROM-Read Only Memory) เป็นชิปที่ใช้บันทึกโปรแกรมต่าง ๆ โดยบริษัท ผู้ผลิตเครื่อง ผู้ใช้งานไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งที่บันทึกอยู่ในรอมได้ แต่จะสามารถเรียกใช้งานได้ แม้จะปิดเครื่อง คำสั่งที่บรรจุในรอมก็ยังคงไม่สูญหายไป

5. ซีดีรอมไดรฟ์ (CD-ROM Drive) เป็นอุปกรณ์เล่นแผ่นซีดีรอม โดยคอมพิวเตอร์ จะอ่านข้อมูลที่บันทึก อยู่ในแผ่นซีดีและแสดงผลออกมาทางจอภาพ

6. ช่องไดรฟ์ (DriveBay) เป็นโครงเหล็กช่องสี่เหลี่ยม อยู่ด้านบนของเครื่องใช้สำหรับใส่ฟลอปปี้ไดรฟ์ หรือซีดีรอมไดรฟ์

7. ฟลอปปี้ไดรฟ์ (Floppy Drive) เป็นช่องสำหรับอ่านแผ่นดิสก์ 3.5 นิ้วเพื่อให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลจาก แผ่นดิสก์ไปประมวลผลในเครื่องอีกที เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ยังจำเป็นต้องมีไดรฟ์ชนิดนี้อยู่ทั้งเครื่อง พีซี โน้ตบุ๊ค หรือแมคอินทอช

8. ฮาร์ดไดรฟ์ (Hard Drive) หรือฮาร์ดดิสก์ เป็นที่เก็บข้อมูลหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีความจุข้อมูลมากกว่าฟลอปปี้ดิสก์ ฮาร์ดไดรฟ์จะติดตั้งอยู่ภายในหน่วยระบบหลัก ขนาดความจุมีหน่วยเป็นเมกะไบต์ จนถึง กิกะไบต์ ขึ้นอยู่กับความต้องการพื้นที่ในการใช้งาน เวลาใช้งานคอมพิวเตอร์จะทำการเรียกโปรแกรมระบบที่สำคัญ จากฮาร์ดดิสก์ลงไปในหน่วยความจำแรม ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้มีขนาดพอเหมาะที่จะบรรจุลงในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่าง พอดี

9. หม้อแปลงไฟฟ้า (Power Supply) ติดตั้งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้านหลังทำหน้าที่แปลงระดับแรง ดันไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านหรือไฟฟ้าทั่วไปมาใช้ให้เหมาะกับที่ใช้ในวงจร คอมพิวเตอร์

10. การ์ดขยาย (Expansion Card) เป็นอุปกรณ์คล้ายบัตร หรือการ์ดขนาดใหญ่ จึงเรียกว่า การ์ดขยาย ทำหน้าที่เฉพาะด้าน เช่น การ์ดแสดงผล การ์ดเสียง การ์ด 3D เป็นต้น

11. ช่องเสียบอุปกรณ์เพิ่มเติม (Expansion Slot) หรือเรียกกันทั่วไปว่า “สล๊อต” ทำหน้าที่ให้การ์ดขยาย เสียบเชื่อมต่อสัญญาณระหว่างการ์ดขยายกับเมนบอร์ด

ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์


   การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้อย่างราบรื่นและไม่ติดขัด นั้น จะต้องประกอบด้วยสิ่งสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และพีเพิลแวร์

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องมือในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ รวมทั้งอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ เช่น เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ ซีพียู ฯลฯ
1.1 ไมโครโปรเซสเซอร์
1.2 หน่วยความจำ
1.3 อุปกรณ์เก็บข้อมูล
1.4 อุปกรณ์รับข้อมูล/แสดงผล

2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์ เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จะช่วยในการแก้ปัญหาจากต้นจนจบ ทำงานรายละเอียดทุกขั้นตอน โปรแกรมเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำภายในซีพียู หลังจากนั้นเครื่องจะทำงานตามโปรแกรมภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

2.1 ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ควบคุมการทำงานทั้งหมดของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเสมอ ระบบปฏิบัติการยอดนิยมในปัจจุบันนี้ คือ Windows Xp และระบบปฏิบัติการ Linux , Dos และจะมีการพัฒนาโปรแกรมใหม่ ๆ ขึ้นมาเรื่อย ๆ

2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมออกแบบ นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสำเร็จรูป ของบริษัทต่าง ๆ ออกมาใช้งาน เช่น Excel , Photoshop และ Oracle เป็นต้น
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Case) หมายถึง รูปร่างลักษณะทั่ว ๆ ไปของคอมพิวเตอร์ ตัวเครื่องจะทำหน้าที่ห่อหุ้มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันตัวเครื่องมีหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับการออกแบบของผู้ผลิต ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ

1. ตัวเครื่องแบบแนวนอน (Desktop Case) เป็นการวางตัวเครื่องแนวนอนบนโต๊ะ แล้วนำจอภาพมาวางซ้อนไว้บนโต๊ะ

2. ตัวเครื่องแบบแนวตั้ง (Tower Case) เป็นการวางตัวเครื่องไว้ในแนวตั้ง โดยตั้งไว้บนโต๊ะ หรือบนพื้นก็ได้ แล้ววางจอภาพไว้ข้าง ๆ ตัวเครื่อง ปัจจุบันตัวเครื่องแบบนี้ได้รับความนิยมมาก เพราะมีขนาดเล็ก ไม่กินเนื้อที่และเคลื่อนย้ายได้สะดวก

3. ตัวเครื่องแบบรวมในชิ้นเดียว (All-In-One Case) เป็นการวางเอาตัวเครื่องและอุปกรณ์ทั้งหมด รวมเป็นชิ้นเดียว คล้ายกับโทรทัศน์ ตัวเครื่องแบบนี้สะดวกในการเคลื่อนย้ายกะทัดรัด แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม เพราะหากอุปกรณ์ภายในชำรุดหรือเสียหาย ต้องรื้อทั้งชุด ไม่ปลอดภัยต่อการใช้งาน

4. คอมพิวเตอร์แบบพกพา เป็นคอมพิวเตอร์ที่สามารถพกพา หรือนำติดตัวไปไหนต่อไหนได้อย่างสะดวก มีแบตเตอรี่ป้อนไฟสำหรับเครื่อง เวลาออกไปใช้งานนอกสถานที่ มีขนาดเล็กน้ำหนักเบา แต่มีความสามารถมากพอ ๆ กับเครื่องขนาดใหญ่ คอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ มีข้อดีและข้อเสียในตัวเอง
การเลือกใช้งานขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและลักษณะงานของผู้ใช้ เช่น หากผู้ใช้ต้องเดินทางไปไกล ๆ บ่อย ๆ ก็ควรใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาเพื่อจะใช้ทำงานได้สะดวก แต่ก็มีข้อด้อยคือ มีความสามารถในการทำงานจำกัด และมีราคาแพงมากกว่าคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์


   การนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานได้นั้น  เครื่องจะต้องมีส่วนประกอบพื้นฐานที่สมบูรณ์และเหมาะสมทั้งอุปกรณ์หลักภายใน ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เสริมต่อพ่วงภายนอกคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบที่สำคัญของคอมพิวเตอร์มี ดังนี้

1. จอภาพ (Monitor) อาจเรียกทับศัพท์ว่า มอนิเตอร์ (Monitor) , สกรีน (Screen) , ดิสเพลย์ (Display) ใช้แสดงผลทั้งข้อความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว มีลักษณะคล้ายจอโทรทัศน์ มีทั้งสีและขาวดำ ปัจจุบันนิยมใช้จอภาพสี

2. ตัวเครื่อง (Computer Case) เป็นส่วนที่เก็บอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลักของคอมพิวเตอร์ เช่น CPU , Driver , Chip ฯลฯ เป็นหัวใจของเครื่อง

3. คีย์บอร์ด (Keyboard) หรือแป้นพิมพ์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พิมพ์คำสั่ง หรือป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ดมีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มพิมพ์พิเศษมากกว่าเครื่องพิมพ์ดีด
4. เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บังคับตัวชี้บนจอภาพ เพื่อเลือกคำสั่งต่าง ๆ แทนการป้อนคำสั่งทางคีย์บอร์ด

5. เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลออกมาทางกระดาษ

6. สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลโดยเอารูปภาพหรือข้อความมาสแกนเข้าไปไว้ในเครื่อง

7. โมเด็ม (Modem) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถส่งไปตามสายโทรศัพท์ และแปลงข้อมูลจากสายโทรศัพท์ให้เป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์สามารถรับรู้ได้

การทำงานของคอมพิวเตอร์

     คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยในการทำงานของเรา ช่วยให้เราทำงานได้เร็วขึ้น สะดวก ขึ้นและแม่นยำมากขึ้น การใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ให้ได้ผลเต็มที่เราจึงต้องเรียนรู้วิธีการทำ งานตลอดจนลักษณะต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ให้ครบถ้วน การทำงานของคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนสำคัญ 4 ขั้นตอนดังนี้ คือ

ขั้นตอนที่ 1 การรับข้อมูลและคำสั่ง คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคำสั่งผ่านอุปกรณ์นำเข้าคือเมาส์  คีย์บอร์ด ฯลฯ

ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคำนวณ หรือ CPU (Central Processing Unit) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า (Chip) เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่คำนวณ ประมวนผลคำสั่ง และควบคุมการทำงานของอุปกรณ์อื่น ๆ

ขั้นตอนที่ 3 การเก็บข้อมูล ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ หน่วยเก็บข้อมูลคือ ฮาร์ดดิสก์   ดิสเกตส์   ซีดีรอม ฯลฯ

ขั้นตอนที่ 4 นำเสนอผลลัพธ์ เป็นอุปกรณ์ที่นำเสนอผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์  เป็นต้น

คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร

      คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะการทำงานของส่วนต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ โดยมีองค์ประกอบพื้นฐานหลักคือ Input  Process และ output ซึ่งมีขั้นตอนการทำงานดังนี้
ขั้นตอนที่ 1  รับข้อมูลเข้า (Input)
เริ่มต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่าง  ๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แป้นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิดพิเศษสำหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สำหรับเคลื่อนตำแหน่งของการเล่นเกมส์  เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 2  ประมวลผลข้อมูล (Process)
เมื่อนำข้อมูลเข้ามาแล้ว เครื่องจะดำเนินการกับข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ ต้องการ  การประมวลผลอาจจะมีได้หลายรูปแบบ เช่น นำข้อมูลมาหาผลรวม นำข้อมูลมาจัดกลุ่ม นำข้อมูลมาหาค่ามากที่สุด หรือน้อยที่สุด เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 3  แสดงผลลัพธ์ (Output)
เป็นการนำผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กำหนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า “จอมอนิเตอร์” (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้

ที่มา  :

ระบบปฏิบัติการ (Operating System)

ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์ (Hardware) กับ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปซึ่งทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้อีกที โดยจะทำหน้าที่ควบคุมการแสดงผล การทำงานของฮาร์ดแวร์ ให้บริการกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปในการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับ ฮาร์ดแวร์ และจัดสรรการใช้ทรัพยากรระบบ (Resources) ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

โดยทั่วไประบบปฏิบัติการนั้น ไม่ได้มีแต่เฉพาะในคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่มีอยู่ในอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์หลายชนิด เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์พกพา พีดีเอ แท็บเล็ตต่างๆ โดยจะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ และติดต่อกับผู้ใช้ผ่านโปรแกรมประยุกต์ (Application) ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการในคอมพิวเตอร์ ได้แก่ Windows, Linux, Mac OS, Solaris, Ubuntu ส่วนตัวอย่างของระบบปฏิบัติการใช้มือถือได้แก่ Windows Mobile, iOS, Android เป็นต้น

โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ

------ Software OS เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่อง OS โดยส่วนใหญ่จะเป็น Software OS เนื่องจากสามารถปรับปรุง แก้ไข พัฒนาได้ง่ายที่สุด

------ Firmware OS เป็นโปรแกรมส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คือ ไมโครโปรแกรม (Microprogram) ซึ่งเกิดจากชุดคำสั่งที่ต่ำที่สุดของระบบควบคุมการทำงานของ CPU หลายๆ คำสั่งรวมกัน การแก้ไข พัฒนา ทำได้ค่อนข้างยากและเสียค่าใช้จ่ายสูง

------ Hardware OS เป็น OS ที่สร้างจากอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ ทำหน้าที่เหมือน Software OS แต่เนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งของฮาร์ดแวร์ ทำให้การปรับปรุงแก้ไขทำได้ยาก และมีราคาแพง

หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ

---1. ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface)

------เนื่องจาก OS ถูกสร้างขึ้นด้วยจุดประสงค์หลัก คือ เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานแก่ผู้ใช้ โดยที่ผู้ใช้ ไม่จำเป็นต้องทราบการทำงานของฮาร์ดแวร์ ก็สามารถทำงานได้โดยง่าย ดังนั้น จึงต้องมีส่วนที่ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้ ในลักษณะที่ง่ายต่อการใช้งาน

---2. ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์

------OS เป็นตัวกลางที่เชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานกับฮาร์ดแวร์ โดยผู้ใช้ ไม่จำเป็นต้องเข้าใจในการทำงานของฮาร์ดแวร์ ดังนั้น OS จึงต้องมีหน้าที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ต่างๆ เหล่านั้นแทนผู้ใช้ โดยจะมีส่วนประกอบเป็นรูทีนต่างๆ ซึ่งจะควบคุมอุปกรณ์แต่ละชนิด

---3. จัดสรรทรัพยากรในระบบ

------ในการทำงานของเครื่อง คอมพิวเตอร์นั้น จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรต่างๆ เข้าช่วย เช่น CPU หน่วยความจำ เป็นต้น และทรัพยากรเหล่านี้มีจำกัด จึงจำเป็นต้องมีการจัดสรรการใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และทำให้การประมวลผลดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ความหมายของคอมพิวเตอร์

 ความหมายของคอมพิวเตอร์
          หมายถึงเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูง อย่างต่อเนื่อง และอัตโนมัติ

     พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์การจำแนกคอมพิวเตอร์ตามลักษณะวิธีการทำงานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ

1. แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) เป็นเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ใช้ค่าตัวเลขเป็นหลักของการคำนวณ แต่จะใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าแทน ไม้บรรทัดคำนวณ อาจถือเป็นตัวอย่างหนึ่งของแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ค่าตัวเลขตามแนวความยาวไม้บรรทัดเป็นหลักของการคำนวณ โดยไม้บรรทัดคำนวณจะมีขีดตัวเลขกำกับอยู่ เมื่อไม้บรรทัดหลายอันมรประกบรวมกัน การคำนวณผล เช่น การคูณ จะเป็นการเลื่อนไม้บรรทัดหนึ่งไปตรงตามตัวเลขของตัวตั้งและตัวคูณของขีดตัวเลขชุดหนึ่ง แล้วไปอ่านผลคูณของขีดตัวเลขอีกชุดหนึ่งแอนะล็อกคอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์จะใช้หลักการทำนองเดียวกัน โดยแรงดันไฟฟ้าจะแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไม้บรรทัด
    แอนะล็อกคอมพิวเตอร์จะมีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แยกส่วนทำหน้าที่เป็นตัวกระทำและเป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ จึงเหมาะสำหรับงานคำนวณทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมที่อยู่ในรูปของสมการคณิตศาสตร์ เช่น การจำลองการบิน การศึกษาการสั่งสะเทือนของตึกเนื่องจากแผ่นดินไหว ข้อมูลตัวแปรนำเข้าอาจเป็นอุณหภูมิความเร็วหรือความดันอากาศ ซึ่งจะต้องแปลงให้เป็นค่าแรงดันไฟฟ้า เพื่อนำเข้าแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเป็นแรงดันไฟฟ้าแปรกับเวลาซึ่งต้องแปลงกลับไปเป็นค่าของตัวแปรที่กำลังศึกษา
    ในปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นแอนะล็อกคอมพิวเตอร์เท่าไรนักเพราะผลการคำนวณมีความละเอียดน้อย ทำให้มีขีดจำกัดใช้ได้กับงานเฉพาะบางอย่างเท่านั้น

2. ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน จัดเป็นดิจิทัลคอมพิวเตอร์แทบทั้งหมด ดิจิทัลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข มีหลักการคำนวณที่ไม่ใช่แบบไม้บรรทัดคำนวณ แต่เป็นแบบลูกคิด โดยแต่และหลักของลูกคิดคือ หลักหน่วย หลักร้อย และสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ เป็นระบบเลขฐานสินที่แทนตัวเลขจากศูนย์ถ้าเก้าไปสิบตัวตามระบบตัวเลขที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
    ค่าตัวเลขของการคำนวณในดิจิทัลคอมพิวเตอร์จะแสดงเป็นหลักเช่นเดียวกัน แต่จะเป็นระบบเลขฐานสองที่มีสัญลักษณ์ตัวเลขเพียงสองตัว คือเลขศูนย์กับเลขหนึ่งเท่านั้น โดยสัญลักษณ์ตัวเลขทั้งสองตัวนี้ จะแทนลักษณะการทำงานภายในซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ต่างกัน การคำนวณภายในดิจิทัลคอมพิวเตอร์จะเป็นการประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองทั้งหมด ดังนั้นเลขฐานสิบที่เราใช้และคุ้นเคยจะถูกแปลงไปเป็นระบบเลขฐานสองเพื่อการคำนวณภายในคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังเป็นเลขฐานสองอยู่ ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงเป็นเลขฐานสิบเพื่อแสดงผลให้ผู้ใช้เข้าใจได้ง่าย

จากอดีตสู่ปัจจุบัน

     พัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีในช่วง 100 ปีที่ผ่านมาได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีทางด้าน คอมพิวเตอร์ เมื่อ 50 ปีที่แล้วมา มีคอมพิวเตอร์ขึ้นใช้งาน ต่อมาเกิดระบบสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหม่เกิดขึ้นมากมาย และมีแนวโน้มการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เราสามารถแบ่งพัฒนาการคอมพิวเตอร์จากอดีตสู่ปัจจุบัน สามารถแบ่งเป็นยุคก่อนการใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิคส์ และยุคที่เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิคส์


ที่มา  : http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/profile.html

วันพฤหัสบดีที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2555

Cydia sources 2012 พื้นฐานที่ IPhone/Ipad ควรมี

ข้อแตกต่างข้อหนึ่งที่
Cydia Store (แอพสโตร์สำหรับเครื่องที่เจลเบรคแล้ว) ต่าง จาก Apple App Store ก็คือ Cydia สามารถ เพิ่มแหล่งติดตั้งแอพพลิเคชัน ได้ ไม่จำกัด ซึ่งเราจะเรียกกันหลายแบบได้ว่า Repository Source, Repo Source,  Cydia Source, Cydia Repos  ทำให้มี Cydia repo sources อยู่มากมายเป็น 100 sources

Cydia Repositories Source ต่างประเทศ

http://cydia.hackulo.us/
http://repo.insanelyi.com/
http://repo.hackyouriphone.org/
http://sinfuliphonerepo.com/
http://cydia.xsellize.com/
http://cydia.myrepospace.com/urus
http://repo.biteyourapple.net/

http://cydia.51ipa.com/
http://ihackstore.com/repo
http://apt.theiphonespotrepo.net/



Cydia Repositories Source ประเทศไทย

http://iappdev.com/i

http://www.smart-mobile.com/cydia

http://cydia.iphonemod.net/
http://cydia.iphonekickass.com/

http://repo.iphoneinthailand.com/

http://repo.yoursn0w.com/


Cydia Repository Source สำหรับลง App เฉพาะ


http://cydia.iphonecake.com/
http://www.themeitapp.com/repo

http://www.cmdshft.ipwn.me/apt/

http://apps.iphoneislam.com/

http://cydia.pushfix.info/


ที่มา : iPad-OS, Smartmobile

อัพเดต : 25/01/2555

NcSettings อาจแทนที่ SBSettings ของ iOS5+

เเนน่นอนคุณได้ใช้โปรแกร SBSetting ใน iPhone+iOS5 กันบ้างแล้ว

ซึ้งในศูนย์การแจ้งเตือนของคุณมันเป็นพื้นทีฟังก์ชั่นทั้งหมดของ SBSettings และ
คุณสามารถทำสิ่งที่ต้องการสลับ WiFi, Volume, ล็อคการหมุน, ความสว่าง, Network และอื่น ๆ ได้อย่าต่อเนื้อง แต่ก็มีบ้างครั้งที่คุณรู้สึกเหมือนเครื่องจะช้าๆ

NcSettings เป็นแถบบางที่สไลด์จึงไม่ใช้เวลาพักมากเกินไป
แน่นอนในการตั้งค่าเหล่านี้คุณสามารถ ปิด-เปิด การตั้งค่า ได้ด้วยการใช้ NcSettings ในศุนย์การแจ้งเตือนของคุณมันเป็นพื้นทีฟังก์ชั่นทั้งหมด คล้ายๆ SBSettings

 คุณสามารถหาได้ฟรีภายใต้ ModMyi Repo ในร้านค้า Cydia

วันจันทร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2553

วันหนึ่งแบตเตอรี่กระดาษจะสามารถใช้งานได้จริง

วันหนึ่งกระดาษทั่ว ๆ ไป อาจจะมาเป็นแบตเตอรี่น้ำหนักเบาเพื่อให้พลังงานแก่อุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดพกพาได้ นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย Stanford ได้รายงานถึงความประสบความสำเร็จในการเปลี่ยนกระดาษที่เคลือบด้วยน้ำหมึกที่ทำจากเงินและวัสดุนาโนคาร์บอนให้กลายเป็น "กระดาษแบตเตอรี่" ได้ ซึ่งนี้ทำให้เกิดการพัฒนารูปแบบใหม่ของวัสดุเก็บพลังงานที่เบาและมีประสิทธิภาพสูงได้

ด้วยคุณสมบัติเดียวกันที่ช่วยให้นำ้หมึกยึดติดกับกระดาษ ทำให้สามารถเคลือบด้านหนึ่งด้วยท่อนาโนคาร์บอน และฟิลม์ลวดนาโนที่ทำมาจากเงิน งานวิจัยก่อนหน้าพบว่าลวดนาโนที่ทำมาจากซิลิคอนนั้น สามารถทำเป็นแบตเตอรี่ที่มีประสิทธิภาพสูงเป็น 10 เท่าของแบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออนที่ ใช้กันตามเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน ด้วยการใช้เทคโนโลยีทางกระดาษที่อิ่มตัวเต็มที่ มีราคาถูก เบาและสามาถทำให้เก็บพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงด้วยการใช้กระดาษที่ เหนี่ยวนำไฟฟ้าโดยการเก็บกระแสไฟฟ้าและเป็นอิเล็กโทรด

แบตเตอรี่แบบนี้สามารถให้พลังงานไฟฟ้าแก่เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือแม้กระทั่งยานพาหนะที่ใช้เครื่องยนต์ Hybrid ทำให้อุปกรณ์นั้นเบาขึ้นและมีอายุการใช้งานนานขึ้น ซึ่งแบตเตอรี่ปัจจุบันนั้นมีน้ำหนักสูงและอายุการใช้งานที่น้อย ทำให้มีราคาสูงที่จะใช้ในรถยนต์พลังงานไฟฟ้า รายงานนี้ตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการ Proceedings of the National Academy of Sciences

ที่มา - reuters.com

Custom Search