เมนูหน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2559

รู้จักกับ Desktop Environment

หลายคนอาจเพิ่งเคยได้ยินได้เห็นคำว่า desktop environment และสงสัยว่ามันคืออะไรกันนะ แรกๆผมก็สงสัยเหมือนกันครับ แต่ก็ไม่มีอะไรในกอไผ่ มันคือหน้าเดสก์ทอปของคอมพิวเตอรของทุกๆท่านนั่นเอง

ใครที่ใช้ Windows อยู่ (คงจะสัก 99% ของคนที่อ่านล่ะมั้ง หุหุ) ก็จะเคยชินกับหน้าตาของวินโดวส์แบบนี้

นี่แหละครับคือ desktop environment (ซึ่งต่อไปผมจะขอเรียกสั้นๆว่า DE นะครับ) ของวินโดวส์ มันเป็นโปรแกรมหนึ่งที่จะใช้แสดงผลออกมาเป็นกราฟฟิกน่ะครับ ถ้าใครสงสัยและอยากลองล่ะก็ ลองกด ctrl+alt+delete แล้วดูที่ processing tab หาคำว่า explorer นั่นแหละครับคือ DE ของวินโดวส์ ถ้าหากว่ากด kill process หรือปิดมันแล้วล่ะก็ ทุกอย่างจะหายไปเลยครับ แม้เมาส์จะใช้ได้ แต่กดไม่ได้ panel ข้างล่างก็หายไปด้วย เรียกว่าใช้อะไรไม่ได้เลยครับ ถ้าจะใช้ก็ต้องเรียกมันขึ้นมาใหม่ผ่านคำสั่ง run ครับ

แน่นอนว่าเราเคยชินกับวินโดวส์กันจนไม่รู้เลยว่ามันยังมี DE แบบอื่นๆอีกหลายอย่างมากมาย แต่วินโดวส์มีแบบเดียวครับ นั่นก็เพราะมันเป็นของลิขสิทธิ์ ของซื้อของขาย ว่างั้น

เรื่องนี้ก็เกียวข้องกับระบบ OS นั่นเอง

โอ้ว... ผมลืมไป ถ้าใครใช้ Mac OSX คงจะเป็นแบบนี้

(ขอผ่านเรื่อง Mac OSX แล้วกันนะครับ ยังไม่มีวาสนาจะได้ใช้มันเลย T_T)

ขอเข้าเรื่อง linux แล้วกันนะครับ

เนื่องจาก ลีนุกซ์ เป็น OS ฟรี ดังนั้นจึงมีการต่อยอดไปมากมาย รวมทั้ง DE ด้วยครับ 

DE ที่เป็นที่นิยมก็มีอยู่ไม่กี่ตัวนั่นแหละครับ ตัวแรกที่เป็นที่นิยมอย่างมากมาย และใช้กันอย่างแพร่หลาย มีชื่อว่า GNOME (อ่านว่า กะโนม)

เป็น DE ที่ได้รับความนิยมค่อนข้างมากทีเดียว เนื่องจะมี plugin มากมายที่ทำให้การใช้งานสะดวกสบายขึ้น แต่ก็ใช้ทรัพยากรของเครื่องพอสมควรเหมือนกัน ถือเป็นตัวเลือกอันดับต้นๆของผู้ที่ทำลีนุกซ์เลยทีเดียว

ต่อไปก็คงเป็น KDE (K Desktop Environment) ได้รับความนิยมพอสมควรเช่นกัน และมีความเฉพาะตัวแตกต่างกับ gnome พอสมควรเลยทีเดียว

หลายคน (ใครกันล่ะ?) ก็บอกว่า KDE นี่คล้ายวินโดวส์ที่สุดแล้ว แต่ก็นั่นล่ะครับ ผมเองก็ยังไม่เคยใช้มันเลยเหมือนกัน ที่สำคัญคือ มันกินทรัพยากรเครื่องมากกว่า gnome อีกครับ

ตัวต่อไปคงเป็น XFCE ซึ่งเป็นตัวที่ผมชอบใช้มาก เพราะมันเป็นแบบ lightweight กินเครื่องน้อย ทำให้การใช้งานเร็วขึ้น (แบบว่า เครื่องผมมันเก่าแล้ว ได้แค่นี้แหละ 555)

ความจริงดูแล้วก็ไม่ค่อยต่างกันเท่าไหร่ แต่การใช้งานของแต่ละตัวค่อนข้างแตกต่างกันอยู่พอสมควร อย่าง KDE หรือ GNOME จะมีการใช้งานที่ง่ายกว่า และไม่ต้องใช้ command line มากนัก แต่ XFCE ไม่ได้สะดวกสบายขนาดนั้น ตัวโปรแกรมหรือ plugin ยังไม่ครบครันเหมือนกับ 2 ตัวแรก แต่ก็ได้ความเร็วของการใช้งานมาทดแทน เพราะความจริงแล้ว ทั้ง 3 ตัวก็ยังต้องพึ่ง command line เช่นกัน และโปรแกรมการใช้งานที่มาพร้อมกับ DE ก็ต่างกันด้วย ผมจึงสนใจ XFCE มากกว่าตัวอื่นครับ (และเครื่องผมก็ใช้เจ้านี้ได้ดีเสียด้วย หุหุ) 

นอกจากนี้แล้วในระบบลีนุกซ์นั้นยังมีการใช้งานแบบอื่นที่เรียกว่า window manager (หรือ WM) ครับ จะเป็นตัวที่ใช้แทน DE ในกรณีที่ต้องการให้ระบบใช้ทรัพยากรของเครื่องน้อยที่สุด เหมาะกับคอมเครื่องเก่าๆเป็นอย่างดีครับ มีหลายตัวที่เป็น WM เช่น openbox, blackbox, jwm, icewm, fluxbox เป็นต้น

คิดว่าคงพอรู้จักกันบ้างแล้วนะครับ สำหรับ desktop environment ต่างๆของคอมพิวเตอร์

คราวนี้จะเป็นอะไรต่อไปก็... ติดตามตอนต่อไปครับ ^_^

มารู้จักกับ Linux Desktop Environment เช่น Gnome,Unity,KDE, Xfce และ LXDE

จากที่เคยแปลบทความ รีวิว และการติดตั้ง Xubuntu 13.10 อาจทำให้ใครงงเกี่ยวกับ Desktop Environment ว่าอะไรคือ จริงๆแล้ว Desktop Environment ก็คือส่วน Graphic User Interface ที่ผู้ใช้สามารถใช้งาน OS ผ่าน Graphic Mode เช่นเดียวกับ Windows หรือ Mac

สำหรับ Linux แล้วมี Desktop Environment ให้คุณเลือกใช้มากมาย และที่เป็นที่นิยมนั้น มี 4 แบบด้วยกัน คือ GNOME,KDE,Xfce และ LXDE โดยทั้ง 4 อย่างนี้ใช้งานโดยการที่คุณลากเมาส์ไปในตำแหน่งที่ต้องการแล้ว Click เท่านั้นครับ

เมื่อเราสอบถามคนที่เคยใช้ Desktop Environment ทั้ง 4 แบบ ทุกคนก็ให้ความเห็นไปต่างๆนาๆว่าชอบ Xfce,KDE,GNOME หรือ LXDE อย่างไร
เช่นคนที่ใช้ Computer รุ่นเก่าก็มักจะชอบ Xfce หรือ LXDE คนใช้ Computer รุ่นใหม่ๆก็จะชอบ GNOME หรือ KDE ซึ่งเราจะสรุปรายละเอียดเกี่ยวกับ Desktop Environment แต่ละแบบให้คุณดังนี้

GNOME?- รุ่นปัจจุบัน, GNOME (GNU?Network Object Model Environment) ซึ่งขณะนี้ได้พัฒนาจาก Version 2.x มาเป็น Version 3 แล้ว โดยคุณมักจะพบ GNOME ติดตั้งบน Linux ตระกูลใหญ่ๆ เช่น Debian,Ubuntu, Fedora และ CentOS

GNOME 2.x
gnome2x
GNOME 2.x มี Taskbar อยู่ 2 แถบ คือบนและล่าง ซึ่งส่วนบนเป็นส่วนของ Menu bar ส่วนแถบบาร์ด้านล้างเป็น แถบเสริม
ในการทำงาน GNOME 2.x ใช้ RAM น้อยกว่า GNOME 3 แต่ใช้ CPU สูงกว่า GNOME 3 แต่อย่างไรก็ตามก็ยังใช้ RAM และ CPU น้อยกว่า Unity และ KDE

ความต้องการของระบบสำหรับ GNOME 2.x:
RAM : 384 MB
CPU : 800 MHz

GNOME 3
gnome3
GNOME 3 คือ ตัวล่าสุดซึ่งพัฒนาต่อมาจาก GNOME 2.x

ความต้องการของระบบสำหรับ GNOME 3:
RAM : 768 MB
CPU : 400 MHz

Unity
DE-unity
Unity ได้รับการออกแบบโดย ?Canonical ใช้สำหรับ Netbook และปัจจุบันเป็น Desktop Environment เริ่มต้นของ Ubuntu 11.04 แต่จะมี Option พิเศษให้เลือกใช้แบบ Classic ซึ่งจะเป็น GNOME 2.x

ความต้องการของระบบสำหรับ Unity:
RAM : 1 GB
CPU : 1 GHz

KDE
DE-KDE

KDE (K Desktop Environment) เป็น Desktop Environment ที่มีหน้าตาเหมือน Microsoft Windows เป็นอย่างมาก ซึ่งเหมาะกับผู้ที่เคยใช้ Windows เป็นอย่างดี โดยมี Start Menu อยู่ทางล่างซ้ายของหน้าจอ

KDE เป็น Default Desktop Environment ของ Linux ตระกูล OpenSUSE, PCLinuxOS และMandriva

ความต้องการของระบบสำหรับ KDE:
RAM : 615 MB
CPU : 1 GHz

Xfce
DE-Xfce
Xfce เป็น Desktop Environment ที่ใช้ Resource น้อยกว่า GNOME หรือ KDE ซึ่ง Xfce เป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดที่จะเลือกใช้สำหรับ Computer รุ่นเก่า
Xfc เป็น Default Desktop Environment ของ Xubuntu และ PCLinuxOS

ความต้องการของระบบสำหรับ Xfc:
RAM : 192 MB
CPU : 300 MHz

LXDE
DE-LXDE
LXDE (Lightweight X11 Desktop Environment) เป็น Desktop Environment อีกตัวหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะกิน Resource น้อยมาก
เป็นทางเลือกที่ดีเยี่ยมสำหรับ Computer รุ่นเก่า
LXDE หน้าตาคล้ายกับ Windows รุ่นเก่า (เช่น Windows 98 or 2000) ซึ่งเป็น Default Desktop Environment ของ
Lubuntu

ความต้องการของระบบสำหรับ LXDE:
RAM : 128 MB
CPU : 266 MHz

ก็เลือกใช้ Linux Desktop Environment ให้เหมาะสมกับงานของคุณว่าจะเป็นไปทางด้านไหน ซึ่ง Linux Desktop Environment มีให้คุณเลือกมากมาย มีข้อดีข้อด้อยที่แตกต่างกัน สำหรับ Linux Desktop Environment ตัวอื่นๆคุณสามารถหาข้อมูลได้ที่ http://pclosmag.com/html/Issues/201109/page08.html

ขอให้สนุกกับการใช้ Linux นะครับ

ที่มา : http://pclosmag.com/html/Issues/201109/page08.html

ลินุกซ์

บทความนี้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ สำหรับตัวเคอร์เนลดูที่ ลินุกซ์ เคอร์เนล

Tux นกเพนกวิน สัญลักษณ์ของลินุกซ์

Tux นกเพนกวิน สัญลักษณ์ของลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) คือระบบปฏิบัติการที่นิยมตัวหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ลินุกซ์มีลักษณะคล้ายระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ โดยมีลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน

เริ่มแรกของของลินุกซ์ พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่างๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพกการ์ด และ โนเวลล์ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่างๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวีดีโอ

ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิม ต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft

สารบัญ

ประวัติ

ลีนุส ทอร์วัสด์ส

ลีนุส ทอร์วัสด์ส

ผู้เริ่มพัฒนาลินุกซ์เป็นคน แรก คือ ลีนุส ทอร์วัลด์ส (Linus Torvalds) ชาวฟินแลนด์ เมื่อสมัยที่เขายังเป็นนักศึกษาคอมพิวเตอร์ ที่มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ปี พ.ศ. 2526 ริชาร์ด สตอลแมน (Richard Stallman) ได้ก่อตั้งโครงการกนูขึ้น จุดมุ่งหมายโครงการกนู คือ ต้องการพัฒนาระบบปฏิบัติการคล้ายยูนิกซ์ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีทั้งระบบ ราวช่วงพ.ศ. 2533 โครงการกนูมีส่วนโปรแกรมที่จำเป็นสำหรับระบบปฏิบัติการเกือบครบทั้งหมด ได้แก่ คลังโปรแกรม คอมไพเลอร์ โปรแกรมแก้ไขข้อความ และเปลือกระบบยูนิกซ์ ซึ่งขาดแต่เพียงเคอร์เนลเท่านั้น ในพ.ศ. 2533 โครงการกนูได้พัฒนาเคอร์เนลชื่อ Hurd เพื่อใช้ในระบบกนูซึ่งในขณะนั้นมีปัญหาเกี่ยวกับความเร็วในการประมวลผล

ในพ.ศ. 2534 Torvalds เริ่มโครงการพัฒนาเคอร์เนล ขณะศึกษาในมหาวิทยาลัยแล้ว โดยอาศัย Minix ซึ่งเป็นระบบที่คล้ายกับ Unix ซึ่งมากับหนังสือเรื่องการออกแบบระบบปฏิบัติการ มาเป็นเป็นต้นแบบในการเขียนขึ้นมาใหม่โดย Torvalds เขาพัฒนาโดยใช้ IA-32 assembler และภาษาซี คอมไพล์เป็นไฟล์ไบนารี่และบูทจากแผ่นฟลอปปี้ดิสก์ เขาได้พัฒนามาเรื่อยๆจนกระทั่งสามารถบูทตัวเองได้ (กล่าวคือสามารถคอมไพล์ภายในลินุกซ์ได้เลย) และในปัจจุบันมีนักพัฒนาจากพันกว่าคนทั่วโลกได้เข้ามามีส่วนรวมในการพัฒนา โครงการ Eric S. Raymond ได้ศีกษากระบวนการพัฒนาดังกล่าวและเขียนบทความเรื่อง The Cathedral and the Bazaar

ในรุ่น 0.01 นี้ถือว่ามีเครื่องมือที่เพียงพอสำหรับระบบ POSIX ที่ใช้เรียก ลินุกซ์ ที่รันกับ กนู Bash Shell และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและอย่างรวดเร็ว

Torvalds ยังคงมุ่งมั่นพัฒนาระบบต่อไป ซึ่งต่อมาก็สามารถรันบน X Window System และมีการเลือกนกเพนกวินที่ชื่อ Tux ให้เป็นตัวนำโชคหรือ Mascot ของระบบลินุกซ์

การอ่านออกเสียง

ในขณะที่ในไทยใช้คำว่า "ลินุกซ์" ในหลายประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักนิยมออกเสียงเป็น "ลินิกซ์" หรือ "ไลนิกซ์" โดยพยางค์ท้ายอ่านเหมือนพยางค์ท้ายของคำว่า"ยูนิกซ์" โดยลินัสผู้ที่คิดค้นลินุกซ์ได้กล่าวไว้ว่า "li" อ่านเหมือนเสียงสระอิ /I/ และ "nux" อ่านเสียงสระเหมือนเสียง /U/ ซึ่งคล้ายเสียง "เออะ" ในภาษาไทย ในอินเทอร์เน็ตมีไฟล์ที่เก็บคำพูดของลินัส ที่พูดว่า "Hello, this is Linus Torvalds, and I pronounce Linux as Linux" เสียง เก็บไว้เนื่องจากมีการโต้เถียงกันมากในเรื่องการออกเสียง

ถึงแม้ว่ามีการออกเสียงออกไป อย่างมากมาย ลินัสได้เคยกล่าวไว้ว่า การอ่านออกเสียงถูกหรือผิดไม่สำคัญ เพราะทุกคนเข้าใจตรงกันว่าหมายถึงอะไร

การใช้งาน

การใช้งานดั้งเดิมของลินุกซ์ คือ ใช้เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ แต่จากราคาที่ต่ำ ความยืดหยุ่น พื้นฐานจากยูนิกซ์ ทำให้ลินุกซ์เหมาะกับงานหลาย ๆ ประเภท

ลินุกซ์ ถือเป็นส่วนสำคัญของซอฟต์แวร์เซิร์ฟเวอร์ที่เรียกว่า LAMP ย่อมาจาก Linux, Apache, MySQL, Perl/PHP/Python ซึ่งเป็นที่นิยมใช้เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ และพบมากสุดระบบหนึ่ง ตัวอย่างซอฟต์แวร์ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบนี้คือ มีเดียวิกิ ซอฟต์แวร์สำหรับวิกิพีเดีย

เนื่องจากราคาที่ต่ำและการ ปรับแต่งได้หลากหลาย ลินุกซ์ถูกนำมาใช้ในระบบฝังตัว เช่นเครื่องรับสัญญาณโทรทัศน์ โทรศัทพ์มือถือ และอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ลินุกซ์เป็นคู่แข่งที่สำคัญของ ซิมเบียนโอเอส ซึ่งใช้ในโทรศัพท์มือถือจำนวนมาก และใช้แทนวินโดวส์ซีอี และปาล์มโอเอส บนเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา เครื่องบันทึกวีดิโอก็ใช้ลินุกซ์ที่ดัดแปลงเป็นพิเศษ ไฟร์วอลล์และเราเตอร์หลายรุ่น เช่นของ Linksys ใช้ลินุกซ์และขีดความสามารถเรื่องทางเครือข่ายของมัน

ระยะหลังมีการใช้ลินุกซ์เป็น ระบบปฏิบัติการของซูเปอร์คอมพิวเตอร์มากขึ้น ในรายชื่อซูเปอร์คอมพิวเตอร์ TOP500 ของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดสองอันดับแรกใช้ลินุกซ์ และจาก 500 ระบบ มีถึง 371 ระบบ (คิดเป็น 74.2%) ให้ลินุกซ์แบบใดแบบหนึ่ง

เครื่องเล่นเกม โซนี่ เพลย์สเตชัน 3 ที่ออกในปี พ.ศ. 2549 รันลินุกซ์ โซนียังได้ปล่อย PS2 Linux สำหรับใช้กับเพลย์สเตชัน 2 อีกด้วย ผู้พัฒนาเกมอย่าง Atari และ id Software ก็เคยออกซอฟต์แวร์เกมบนลินุกซ์มาแล้ว

ส่วนแบ่งการตลาด

ส่วนแบ่งการตลาดในปัจจุบัน ของลินุกซ์มีเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องจากรายงานการวิจัยจาก Company IDC ในปี พ.ศ. 2545 โดย 25% ของเซิร์ฟเวอร์ และ 2.8% ของ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทำงานระบบลินุกซ์ เนื่องจากคุณสมบัติต่างๆของลินุกซ์ ราคาที่ถูก และระบบความปลอดภัยสูง ทำให้ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เติบโตสูงที่สุดในปัจจุบัน

การติดตั้ง

การติดตั้งโดยทั่วไป จะติดตั้งผ่านซีดีที่มีโปรแกรมบรรจุอยู่ในแผ่นซึ่งแผ่นซีดีนั้นสามารถหามา ได้หลายวิธี เช่นสามารถเบิร์นได้จาก ISO imageที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต หรือสามารถหาซื้อซีดีได้ในราคาถูกโดยอาจจะซื้อรวมหรือแยกพร้อมกับคู่มือ เนื่องจากลิขสิทธิ์ของโปรแกรมเป็นแบบGPL ลินุกซ์จากผู้จัดทำบางตัวเช่น เดเบียน สามารถติดตั้งได้จากโปรแกรมขนาดเล็กผ่านฟลอปปีดิสก์ ซึ่งเมื่อติดตั้งส่วนหนึ่งสำเร็จ ตัวโปรแกรมของมันเองจะดาวน์โหลดส่วนอื่นเพิ่มขึ้นมาผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือสำหรับบางตัวเช่นอูบุนตุ สามารถทำงานได้ผ่านซีดีโดยติดตั้งในแรมในช่วงที่เปิดเครื่อง

การทำงานของลินุกซ์สามารถติด ตั้งได้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูง จนถึงเครื่องที่สมรรถนะต่ำ ที่ไม่มีฮาร์ดไดรฟ์หรือมีแรมน้อยโดยทำงานเป็นเครื่องไคลเอนต์โดยที่เครื่อง ไคลเอนต์ สามารถบูตและเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆผ่านทางเน็ตเวิร์กจากเครื่องเทอร์มินอ ลเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งวิธีการนี้ยังคงช่วยให้ประหยัดเวลาในการติดตั้งโปรแกรม เพราะติดตั้งเพียงเครื่องเดียวที่เทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงราคาของเครื่องไคลเอนต์ที่ไม่จำเป็นต้องมีสมรรถภาพสูงที่ราคาถูกกว่า เครื่องทั่วไป

การเขียนโปรแกรมบนลินุกซ์

ส่วน GNU Compiler Collection (GCC) สนับสนุนการเขียนภาษาโปรแกรมที่สำคัญ เช่น ภาษาซี ภาษาซีพลัสพลัส และภาษาจาวา รวมถึงภาษาอื่นๆ รวมถึงมี IDE จำนวนมาก ซึ่งได้แก่ Emacs Vim Eclipse KDevelop Anjuta

วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Top 30 Nmap ตัวอย่างคำสั่งสำหรับ Sys / Network Admins

วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2558

“Windows 10” ลายระเอียด แต่ละ เวอร์ชัน

Windows-10_Product-Family-500x281

Microsoft ได้เปิดเผลยรายละเอียดเวอร์ชันต่างๆ ของ Windows 10 ชิงจะเเบ่งออกเป็นหลายรุ่นที่มีฟิเจอร์แตกต่างกันออกไป โดย Windows 10 จะมีแบ่องออกเป็นทั่งหมด 6 ร่นได้แก่

Windows 10 Home
เป็นรุ่นที่เหมาะสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป สำหรับครอบครัวใช้ไดกับคอมพิวเตอร์ทั่วไป โน๊คบุ๊ค แบบ 2 in 1 แท็บเล็ต

Windows 10 Mobile
เป็นระบบปฎิบัติการ ที่ ออกแบบสำหรับโทรศํพท์มือถือรองรับการทำงาน Universal Windows เหมือนกับ Windows 10 บนคอมพิวเตอร์

Windows 10 Pro
สำหรับคอมพิวเตอร์ทั่วไป โน๊ตบุ๊ค โน๊ตบุ๊คแบบ 2 in 1 เหมือนกับรุ่น Home แต่บวกฟังก์ชั่นสำหรับการทำงานเรื่องธุรกิจ มีระบบรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการปกป้องข้อมูลสำคัญทางธุรกิจ และการทำงานแบบ Remote Desktop แบบเคลื่อนที่ และการใช้งานด้านเทคโนโลยี Cloud ด้วย

Windows 10 Education
เป็นระบบปฏิบัติการ Windows สำหรับใช้งานในด้านการศึกษา ซึ่งพัฒนาต่อยอดจาก Windowd 10 Enterprise โดยออกแบบสำหรับบุคลากรด้านการศึกษาเช่น เจ้าหน้าที่ ผู้บริหาร ครู และนักเรียน ในสถานศึกษา ต่างๆ โดยจะมีให้ลูกค้าผ่านทาง VL สำหรับสถานศึกษา ส่วนผู้ใช้ ภายใต้ Windows 10 Home และ Windows 10 Pro จะได้รับ Windows 10 Education ได้ฟรีทางเว็บไซต์ VLSC

Windows 10 Mobile Enterprise
เป็นระบบปฏิบัติการขั้นสูง สำหรับบริษัทและองค์กรขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ โดยสร้างต่อยอดจากคุณสมบัติทั้งหมดใน Windows 10 Pro เพื่อเพิ่มความปลอดภัยกับ อุปกรณ์ ข้อมูลสำคัญของบริษัท ข้อมูลส่วนบุคคล แอปพลิเคชัน ซึ่งต้องปกป้องจากภัยคุกคามที่มีความรุนแรงบนโลกออนไลน์มากขึ้น ทั้งนี้ Windows 10 Enterprise ซื้อได้ผ่านทาง Volume Licensing (VL)

Windows 10 lot Core
สำหรับพวกอุปกรณ์ราคาประหยัด เช่น gateways เป็นต้น

MSHoloLens_MixedWorld_LivingRoom_LongBrowser_RGB-500x333

ขอบคุณภาพ : https://blogs.windows.com/bloggingwindows/2015/01/21/the-next-generation-of-windows-windows-10/
ทีมา : http://www.it24hrs.com/2015/windows-10-editions-name/

วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2558

MIT proves flash is as fast as RAM, and cheaper, for big data

800px-wikimedia_foundation_servers-8055_17-100596212-primary.idge
40 servers using 10TB of RAM were no faster than 20 using 20TB of flash

When it comes to high-speed data processing, RAM has always been the go-to memory for computers because it's tens of thousands of times faster than disk drives and many times faster than NAND flash.

Researchers at MIT, however, have built a server network that proves for big data applications, flash is just as fast as RAM and vastly cheaper.

In the age of big data, where massive data sets are used to uncover the purchasing trends of millions of people or predict financial market trends based on millions of data points, a single computer's RAM won't do.

For example, the data needed to process a single human genome requires between 40 and 100 typical computers.

NAND flash is about a tenth as expensive as RAM and it also consumes about a tenth as much power. So at the International Symposium on Computer Architecture last month, MIT researchers revealed a new system that proved flash memory is just as efficient as conventional RAM, but it also cuts power and hardware costs.

"Say, we need to purchase a system [to] process a dataset that is 10TBs large. To process it in DRAM, we would need a cluster of about 100 computers, assuming servers with 100GB of DRAM," Arvind Mithal, the Johnson Professor of Computer Science and Engineering at MIT, said in an email reply to Computerworld. "Such a cluster will cost around $400K to build."

Each server was connected to a field-programmable gate array, or FPGA, a kind of chip that can be reprogrammed to mimic different types of electrical circuits. Each FPGA, in turn, was connected to two 500GB flash chips and to the two FPGAs nearest it in the server rack.

Networked together, the FPGAs became a fast network that allowed any server to retrieve data from any flash drive. The FPGAs also controlled the flash drives.

Arvind, as Mithal typically goes by, said to process the same 10TB dataset in flash, only 10 computers -- each with 1TB of flash storage -- would be needed. Even including the cost of FPGA-based accelerator hardware, the total price of the system would be less than $70,000 or so, he said.

"This price may go down even further if we consider the fact we don't need as much DRAM on each server on a flash based system," Arvind said. "If we use a lower-end server with less DRAM, the system will cost around $40K."

Maintaining a flash-based system is also much cheaper, he continued, because flash consumes much less power than DRAM, and also because it would require fewer servers. Even when the additional power consumption of flash and FPGA accelerators were factored in, MIT's server network prototype showed that the flash storage device added only about 10% power consumption to the whole system.

In fact, even without their new network configuration, the researchers showed that if servers working on a distributed computation use disk drives to retrieve data just 5% of the time, performance is the same as if it were using flash.

For example, 40 servers with 10TB of RAM could not handle a 10.5TB computation any faster than 20 servers with 20TB worth of flash memory. And, the flash would cost less and consume a fraction of the power.

The researchers were able to make a network of 20 flash-based servers competitive with a network of RAM-based servers by moving some of the computational power off the servers and onto the flash drives' controller chips.

The researchers used flash drives to preprocess some of the data before passing it back to the servers, increasing the efficiency of the distributed computation.

"This is not a replacement for DRAM [dynamic RAM] or anything like that," Arvind said.

Arvind performed the work with a group of graduate students and researchers at Quanta Computer. The research showed there are likely many applications that can replace RAM and take advantage of a flash-based computer architecture's lower cost.

"Everybody's experimenting with different aspects of flash. We're just trying to establish another point in the design space," Arvind said

วันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Top 5 แผ่นกู้ภัยฟรีสำหรับเครื่องมือ บริหาร คอมพิวเตอร์ของคุณ

แผ่นดิสก์กู้ภัยสามารถประหยัดชีวิตสำหรับดูแลระบบ เต็มไปด้วยการวินิจฉัยและซ่อมแซมเครื่องมือต่างๆที่พวกเขาสามารถทำสิ่งที่ต้องการแก้ไข Master Boot Record (MBR), การกู้คืนรหัสผ่านการตรวจสอบและทำความสะอาด rootkitor เพียงช่วยให้คุณในการกู้ข้อมูลโดยการโอนได้จากไดรฟ์ได้รับความเสียหายไปยังตำแหน่งอื่น นี่คือทั้งหมดที่ดีที่สุดในหนึ่งเดียวบูต CD / USBs ที่ผู้ดูแลระบบสามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาและซ่อมแซมระบบ Linux หรือ Windows - เพิ่มประโยชน์ทุกคนที่จะพกพาของคุณ

1. Hiren Boot CD

สำหรับ Hiren Boot CD อ่าน "ชุดปฐมพยาบาลสำหรับคอมพิวเตอร์ของคุณ" - และที่มันเป็น! Hiren Boot CD เป็นหนึ่งในซีดีกู้ภัยที่นิยมมากขึ้นออกมีและมีความมั่งคั่งของเครื่องมือรวมทั้งเครื่องมือในการ defrag เครื่องมือสำรองไดรเวอร์, เครื่องมือการสำรองข้อมูล, การป้องกันไวรัสและเครื่องมือป้องกันมัลแวร์, เครื่องมือตรวจจับ rootkit ข้อมูลที่เชื่อถือเช็ดเครื่องมือและเครื่องมือแบ่งพาร์ทิชันในหมู่ อื่น ๆ
Hiren Boot CD มีให้ดาวน์โหลดเป็น ISO สำหรับการติดตั้งง่ายต่อ USB หรือการเขียนแผ่นซีดี
เมนูการบูตช่วยให้คุณสามารถบูตเข้าสู่สภาพแวดล้อม MiniXP สภาพแวดล้อมกู้ภัย Linux-based เรียกใช้ชุดเครื่องมือหรือบูตโดยตรงจากพาร์ทิชันที่ระบุบ

Hiren_PreBoot

สภาพแวดล้อม MiniXP ดังแสดงในภาพด้านล่างเป็นเหมือนสก์ท็อป Windows XP ทุกอย่างสวยมากที่เกิดขึ้นจากการเปิด HBCD (โปรแกรมเดี่ยวกับเมนูแบบเลื่อนลงที่มีทางลัดไปยังโปรแกรมสำเร็จรูป)

Hiren_MiniXPBooted

2. FalconFour’s Ultimate Boot CD

Boot ที่สุด FalconFour ซีดีจะขึ้นอยู่กับ Hiren ซีดี Boot กับเมนูการบูตที่กำหนดเองและทั้งกลุ่มของเครื่องมือการปรับปรุง. ของ UBCD มีเครื่องมือที่ให้ข้อมูลระบบเครื่องมือที่กู้คืน / ซ่อมแซมพาร์ทิชันหักเครื่องมือที่กู้คืนข้อมูลได้เป็นอย่างดี เป็นสาธารณูปโภคไฟล์เครื่องมือการกู้คืนรหัสผ่านเครื่องมือเครือข่ายเครื่องมือกำจัดมัลแวร์และอื่น ๆ อีกมากมาย
UBCD F4 เป็นใช้ได้สำหรับการดาวน์โหลดเป็นไฟล์ ISO เพื่อให้คุณสามารถเขียนมันให้แผ่นซีดีหรือใช้ในการสร้างไดรฟ์ USB บูต
คล้ายกับ Hiren Boot ซีดี, เมื่อคุณบูต UBCD F4 ของคุณนั้นจะมีเมนูให้คุณเลือกที่จะบูตเข้าสู่สภาพแวดล้อมลินุกซ์, สภาพแวดล้อม MiniXP หรือเรียกใช้ชุดเครื่องมือแบบสแตนด์อโลน ขณะที่คุณเลื่อนเขียนแผ่น, รายละเอียดของแต่ละรายการจะได้รับที่ด้านล่างของหน้าจอ

F4UBCD1_PreBoot

คล้ายกับที่ของ Hiren Boot ซีดี, สภาพแวดล้อม MiniXP เป็นเหมือนสภาพแวดล้อมเดสก์ทอป Windows XP, เพียง แต่มันเป็นจริงที่มีน้ำหนักเบาและก่อนเต็มไปด้วยการเป็นเจ้าภาพของการวินิจฉัยและซ่อมแซมเครื่องมือ

F4UBCD2_MiniXPBooted

เมื่อสก์ท็อปได้โหลดขึ้นให้เลือกจากหนึ่งในการประยุกต์ใช้ทางลัดที่มีอยู่เปิดเมนู HBCD หรือไปที่เมนู Start จะได้รับไป

3. SystemRescueCD

SystemRescueCd เป็นแพคเกจลินุกซ์ที่ใช้สำหรับการแก้ไขปัญหาและลินุกซ์ระบบของ Windowsแผ่นมีโปรแกรมป้องกันไวรัส, มัลแวร์กำจัดและเครื่องมือกำจัดรูทคิทเช่นเดียวกับเครื่องมือที่จะช่วยในการจัดการหรือพาร์ทิชันซ่อมแซมกู้คืนข้อมูลของคุณสำรองข้อมูลหรือโคลนไดรฟ์ของคุณ SystemRescueCd สนับสนุน ext2 / ext3 / ext4, ReiserFS, btrfs, XFS, jfs, VFAT, NTFS และระบบไฟล์เช่นเดียวกับไฟล์ระบบเครือข่ายเช่น Samba และ NFS นอกจากนี้ยังมาพร้อมกับการแก้ไขปัญหาเครือข่ายการแก้ไขไฟล์และ bootloader เครื่องมือการฟื้นฟู
SystemRescueCd นี้สามารถดาวน์โหลดเป็นไฟล์ ISO เพื่อให้คุณสามารถเผามันให้แผ่นซีดีหรือใช้ในการสร้างไดรฟ์ USB บูต
เมื่อคุณบูต SystemRescueCd เมนูก่อนบูตช่วยให้คุณมีความหลากหลายของตัวเลือกที่ช่วยให้คุณสามารถบูตโดยตรงในสภาพแวดล้อมแบบกราฟิกหรือบรรทัดคำสั่ง

SystemRescueCD1_PreBoot1

ในภาพด้านล่างผมได้เตะในสภาพแวดล้อมแบบกราฟิกและเริ่มต้นการประยุกต์ใช้ chkrootkit จากหน้าต่างเทอร์มิซึ่งการค้นหาสำหรับรูทคิทติดตั้งในระบบ โปรแกรมอื่น ๆ สามารถเรียกใช้โดยตรงจากท่าเรือในลักษณะคล้ายการใช้ข้อโต้แย้งและพารามิเตอร์ตามความจำเป็น

SystemRescueCD1_xstart

4. Ultimate Boot CD

Boot CD Ultimate ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยให้คุณแก้ไขระบบ Windows และ Linux ใช้ชุดของการวินิจฉัยและซ่อมแซมเครื่องมือ มันมีอะไรจากการกู้คืนข้อมูลและเครื่องมือโคลนไดรฟ์ BIOS การจัดการหน่วยความจำและเครื่องมือทดสอบ CPU
UBCD สามารถดาวน์โหลดในรูปแบบ ISO สำหรับการติดตั้งง่ายต่อ USB หรือการเผาไหม้ซีดี
หมายเหตุ: UBCD4Win (http://www.ubcd4win.org/) เป็นพี่ชายของ UBCD สร้างขึ้นเฉพาะสำหรับระบบวินโดวส์
เมื่อคุณบูตด้วย UBCD คุณจะพบกับอินเตอร์เฟซ DOS ตามที่คุณไปขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของระบบที่คุณต้องการที่จะแก้ไขปัญหา

UBCD_PreBoot

5. Trinity Rescue Kit

ทรินิตี้กู้ภัย Kit เป็นซีดีกู้ภัย Linux-based ที่มุ่งเน้นเฉพาะการกู้คืนและการซ่อมแซมเครื่อง Windows หรือลินุกซ์ มันมีช่วงของเครื่องมือที่ช่วยให้คุณสามารถใช้สแกน AV รีเซ็ตรหัสผ่านที่หายไปของ Windows สำรองข้อมูล, การกู้คืนข้อมูลไดรฟ์โคลนปรับเปลี่ยนพาร์ทิชันและเรียกใช้เครื่องมือตรวจจับ rootkit
ทรินิตี้ชุดกู้ภัยสามารถดาวน์โหลดในรูปแบบ ISO สำหรับการติดตั้งง่ายต่อ USB หรือการเผาไหม้ซีดี
บูตเมนูให้คุณเลือกที่จะเริ่มต้น TRK เป็นโหมดที่แตกต่างกัน (มีประโยชน์ถ้าคุณกำลังมีปัญหาในการโหลดในโหมดเริ่มต้น)

Trinity_PreBoot

เมื่อคุณได้รับทรินิตี้กู้ภัยชุดเมนูง่าย 'เพียงแค่นำทางผ่านรายการเพื่อเลือกเครื่องมือที่จะดำเนินการ นอกจากนี้คุณยังสามารถสลับไปยังบรรทัดคำสั่งถ้าคุณต้องการความยืดหยุ่นมากขึ้นและรู้สึกพอใจกับคำสั่ง Linux-based

Trinity_EasyBootMenu

อ้างอิง google http://www.gfi.com/blog/top-5-free-rescue-discs-for-your-sys-admin-toolkit/

By Arc

วันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Twitch เริ่มปรับการให้บริการสตรีมมิ่งจาก Flash มาใช้ HTML 5

ข้อบกพร่องของ Flash ที่ก่อให้เกิดช่องโหว่ ยังสร้างความกังวลด้านความปลอดภัยให้กับเหล่าเว็บไซต์จำนวนมากอย่างต่อ เนื่อง จนหลายเว็บไซต์หรือแพลตฟอร์มใหญ่ๆ เริ่มเบือนหน้าหนี Flash และหันไปใช้ HTML 5 กันมากขึ้น เช่นเดียวกับ Twitch บริการวีดีโอสตรีมมิ่งเริ่มปรับตัวควบคุมการเล่นวีดีโอเกมมาใช้ HTML 5 แล้ว

HTML 5

Twitch เริ่มปรับการให้บริการสตรีมมิ่งจาก Flash มาใช้ HTML 5

การปรับบางส่วนในบริการสตรีมมิ่งของ Twitch เริ่มต้นไปที่การปรับตัวควบคุมการเล่นวีดีโอ จากเดิมที่ใช้ระบบ Flash มาเป็น HTML 5 โดยในระยะเริ่มแรกนี้การแสดงผลวีดีโอยังเป็นรูปแบบ Flash อยู่ แต่ในอนาคต Twitch จะปรับบริการสตรีมมิ่งทั้งหมดให้กลายเป็น HTML 5 อย่างเต็มรูปแบบ

ในการปรับเปลี่ยนครั้งนี้สืบเนื่องจากช่องโหว่ที่ถูกค้นพบอีกครั้งในระบบ Flash ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านความปลอดภัยได้ในอนาคต จนทำให้เว็บไซต์หรือหลายแพลตฟอร์มเริ่มหลีกเลี่ยงการใช้ Flash มาเป็น HTML 5 มากขึ้น อาทิ Facebook, Firefox, YouTube, Google Chrome ที่ล้วนแล้วมีการแสดงออกต่อการยุติการใช้ Flash อย่างชัดเจน

อ้างอิง

ทีมา : http://www.aripfan.com/twitch-dropping-flash-controls-for-html5/

วันพุธที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

“อ่านน่ะจ้ะ” ความเสี่ยงของการใช้ Windows XP ที่หมดอายุแล้ว

xpหมดอายุ
มีบทความ-รายงาน-บทวิเคราะห์จำนวนมากที่พูดถึงปัญหาของการใช้งาน Windows XP ที่หมดอายุแล้ว ผมขออ้างอิงรายงานของ Lenovo ที่พาดหัวไว้ซะน่ากลัวว่า Windows XP – A Compliance and Risk Nightmare in April 2014 ซึ่งแบ่งปัญหาออกเป็น 3 ข้อ
  1. ความเสี่ยงทางเทคนิคที่จะโดนโจมตีผ่านช่องโหว่ความปลอดภัย (ตามที่อธิบายไปแล้วข้างต้น)
  2. ความเสี่ยงที่จะถูกจารกรรมข้อมูล แล้วองค์กรโดนปรับหรือโดนฟ้อง (บางประเทศมีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลของลูกค้า ทำหายแล้วโดนปรับ)
  3. ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบไอทีในระยะยาวจะเพิ่มสูงมาก การบำรุงรักษาระบบปฏิบัติการเก่ามีต้นทุนระยะเวลาสูงกว่าระบบปฏิบัติการ ใหม่ๆ ที่มีความพร้อมกว่าในทุกด้าน

ผมเชื่อว่าของพวกนี้ไม่เห็นโลงศพไม่หลั่งน้ำตาครับ อีกไม่นานเราคงเห็น "การโจมตี Windows XP ครั้งใหญ่" ที่สร้างผลสะเทือนในวงกว้าง ซึ่งจะกลายเป็นจุดเปลี่ยน กระตุ้นให้หน่วยงานต่างๆ หันมาสนใจปัญหานี้ (แต่ระหว่างนั้นจะโดนลูกหลงด้วยหรือไม่ ก็ขึ้นกับความใส่ใจขององค์กรแล้ว)

บทสรุป: ความเจ็บปวดที่ต้องก้าวผ่าน

ผมเข้าใจคนที่ยังใช้ XP อยู่ในตอนนี้ว่า ใจจริงก็อยากเปลี่ยนแหละนะ แต่ติดขัดว่าต้องจ่ายเงินเพิ่ม (ซื้อคอมใหม่หรือไลเซนส์ใหม่ และอัพเกรดแอพพลิเคชันองค์กรใหม่ในกรณีคอมองค์กร) และต้องปรับตัวฝึกการใช้งานระบบปฏิบัติการใหม่ๆ อีกมาก

แต่มันไม่มีทางเลือกครับ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ไม่ใช่เครื่องใช้ไฟฟ้าแบบดั้งเดิมที่ใช้ กันไปจนพัง แต่มันเป็นส่วนหนึ่งของ "โซลูชันทางไอที" ที่มีต้นทุนค่าบำรุงรักษาอยู่ตลอดเวลา วันนี้ได้เวลาควักเงินอีกก้อนเพื่อต่ออายุโซลูชันสำหรับอีก 5-10 ปีข้างหน้าแล้ว

บทความเก่าที่เกี่ยวข้อง:

ที่มา : https://www.blognone.com/node/52382

วันอังคารที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Google Chromixium 1.5 เปิดให้โหลดแล้วดาดูกันเลย

Chromixium 32 บิตได้ถึงสถานะที่มั่นคงและจะสามารถใช้ได้สำหรับการดาวน์โหลดข ว่าในขณะนี้โดยคลิกที่ลิงค์ข้างต้น โปรดอ่านประกาศการเปิดตัวเต็มรูปแบบได้ที่หน้าโครงการ GitHub ก่อนที่จะดาวน์โหลด Chromixium เป็น 32 บิต การกระจ่ายการใช้ภาษาอังกฤษกับการสนับสนุนบางส่วนสำหรับภาษาอื่น ๆ Sourceforge ได้รับการประสบปัญหาเมื่อเร็ว ๆ นี้เพื่อให้รุ่นล่าสุดได้รับการเผยแพร่บน GitHub (ทั้งโดยตรงและดาวน์โหลด)

Minimum requirements: 512MB RAM (1GB preferred), 1GHZ PAE capable Intel/AMD processor.

aattachment.phpattachment.phpattachment.phpattacshment.phpchrome-web-store

  • Download the file Chromixium-1.5-i386.iso from the links above (32 bit download for PC)
  • The MD5 file verification checksum is d29b37c8c062ae4ac86afc8fbbad0d05.
  • If you prefer, you can download Chromixium as a torrent. Chromixium torrents are now also now hosted on Linuxtracker.
  • For current Chromixium 1.0 32 bit users, please download and install service pack 1.
Chromixium OS 1.0 Screencast



Chromixium 1.0  สุดท้ายได้รับการเผยแพร่Chromixium ผสมผสานความเรียบง่ายสง่างามของ Chromebook ที่มีความยืดหยุ่นและความมั่นคงของอูบุนตูของการเปิดตัวการสนับสนุนระยะยาว Chromixium ทำให้หน้าเว็บและศูนย์กลางของประสบการณ์ของผู้ใช้ แอปพลิเคชันเว็บและ Chrome ทำงานตรงออกมาจากเบราว์เซอร์ที่จะเชื่อมต่อคุณกับทุกการทำงานส่วนบุคคลของคุณและเครือข่ายการศึกษา ลงชื่อเข้าใช้ในการซิงค์โครเมี่ยมปพลิเคชันทั้งหมดของคุณและที่คั่นหน้า เมื่อ คุณออฟไลน์หรือเมื่อคุณจำเป็นต้องใช้พลังงานมากขึ้นคุณสามารถติดตั้งจำนวน การใช้งานใด ๆ สำหรับการทำงานหรือเล่นรวมทั้ง LibreOffice, Skype, ไอน้ำและทั้งมากเพิ่มเติม การปรับปรุงการรักษาความปลอดภัยมีการติดตั้งได้อย่างลงตัวและง่ายดายใน พื้นหลังและจะถูกจัดจนถึง 2019 คุณสามารถติดตั้งในสถานที่ Chromixium ของระบบปฏิบัติการที่มีอยู่หรือควบคู่ไปกับ Windows หรือ Linuxเทคนิคที่ต่ำลง     Chromixium 1.0 เป็นระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิตสำหรับ x86 และระบบคอมพิวเตอร์ที่เข้ากันได้     Chromixium อยู่บนพื้นฐานของลินุกซ์อูบุนตู 14.04 Trusy Tahr การเปิดตัวการสนับสนุนระยะยาว     Chromixium ทำงานบนลินุกซ์ 3.13.0-51.84 PAE ด้วยการสนับสนุนได้ถึง 64GB แรม     Chromixium มีที่มาเปิดเว็บเบราเซอร์โครเมี่ยมให้เข้าถึง Chrome และบริการของ Google Google ลงชื่อเข้าใช้เป็นตัวเลือก     Adobe PepperFlashPlugin มีให้เพื่อเพิ่มประสบการณ์การท่องเว็บและเราขอให้คุณยอมรับใบอนุญาตของ Adob​​e เมื่อคุณติดตั้ง Chromixium System requirements : 512MB RAM (1GB preferred), 1GHZ PAE capable Intel/AMD processor. 

50 Windows 8 Keyboard Shortcuts ที่คุณยังไม่รุ้จัก

ShortcutDescription
Windows Key + DShow Desktop
Windows Key + COpen Charms Menu
Windows Key + FCharms Menu – Search
Windows Key + HCharms Menu – Share
Windows Key + KCharms Menu – Devices
Windows Key + ICharms Menu – Settings
Windows Key + QSearch For Installed Apps
Windows Key + WSearch Settings
Windows Key + TabCycle through open Modern UI Apps
Windows Key + Shift + TabCycle through open Modern UI Apps in reverse order
Windows Key + .Snaps app to the right (split screen multitasking)
Windows Key + Shift + .Snaps app to the left (split screen multitasking)
Windows Key + ,Temporarily view desktop
Alt + F4Quit Modern UI Apps
Windows Key + ELaunch Windows Explorer Window
Windows Key + LLock PC and go to lock screen
Windows Key + TCycle through icons on taskbar (press Enter to launch app)
Windows Key + XShow Advanced Windows Settings Menu
Windows Key + ELaunch Windows Explorer Window
Windows Key + Page DownMoves Start screen and apps to secondary monitor on the right
Windows Key + MMinimize all Windows
Windows Key + Shift + MRestore all minimized Windows
Windows Key + ROpen Run dialog box
Windows Key + Up ArrowMaximize current window
Windows Key + Down ArrowMinimize current window
Windows Key + Left ArrowMaximize current window to left side of the screen
Windows Key + Right ArrowMaximize current window to right side of the screen
Ctrl + Shift + EscapeOpen Task Manager
Windows Key + Print ScreenTakes a Print Screen and saves it to your Pictures folder
Windows Key + Page UpMoves Start screen and apps to secondary monitor on the left
Windows Key + Pause BreakDisplay System Properties
Shift + DeletePermanently delete files without sending it to Recycle Bin
Windows Key + F1Open Windows Help and Support
Windows Key + VCycle through notifications
Windows Key + Shift + VCycle through notifications in reverse order
Windows Key + 0 to 9Launch/show app pinned to taskbar at indicated number
Windows Key + Shift + 0 to 9Launch new instance of app pinned to taskbar at indicated number
Alt + EnterDisplay Properties of selected item in File Explorer
Alt + Up ArrowView upper level folder of current folder in File Explorer
Alt + Right ArrowView next folder in File Explorer
Alt + Left ArrowView previous folder in File Explorer
Windows Key + PChoose secondary display modes
Windows Key + UOpen Ease of Access Center
Alt + Print ScreenPrint Screen focused Window only
Windows Key + SpacebarSwitch input language and keyboard layout
Windows Key + Shift + SpacebarSwitch to previous input language and keyboard layout
Windows Key + EnterOpen Narrator
Windows Key + +Zoom in using Magnifier
Windows Key + Zoom out using Magnifier
Windows Key + EscapeExit Magnifier

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

นักวิจัย MIT เสนอแนวทางออกแบบคลัสเตอร์, ไม่ต้องเน้นแรม เน้นหน่วยความจำแฟลช

ทีมวิจัยจาก MIT เสนอสถาปัตยกรรม BlueDBM สำหรับการประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ด้วยแนวคิดว่าไม่ต้องเน้นการเพิ่มแรมเข้าไป มากๆ เหมือนแต่ก่อน
กรณีของข้อมูลสำหรับ BlueDBM เช่นการประมวลผลข้อมูลทวิตเตอร์ขนาด 5TB ถึง 20TB ที่ต้องใช้เซิร์ฟเวอร์นับร้อยตัว แต่ละตัวติดตั้งแรมจำนวนมากเพื่อให้ข้อมูลทั้งหมดอยู่บนแรม ข้อเสนอของ BlueDBM เสนอให้ไปเน้นหน่วยความจำแบบแฟลชที่ประสิทธิภาพสูงแต่ยังมีราคาถูกและ ประหยัดไฟแทน
BlueDBM พัฒนาการ์ดหน่วยความจำแฟลชเฉพาะทาง เชื่อมต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์หลักด้วย PCIe บนตัวการ์ดเองสามารถเชื่อมต่อกับการ์ดบนเครื่องอื่นๆ ได้โดยตรงผ่านสาย SATA จุดพิเศษอีกอย่างหนึ่งคือแต่ละการ์ดจะเป็น FPGA ทำให้สามารถส่งงานง่ายๆ ไปประมวลผลบนตัวการ์ดได้โดยตรง ตัวอย่างเช่น การค้นหาข้อความในไฟล์ขนาดใหญ่จะเสียเวลาจำนวนมากไปกับการทำ I/O ส่งข้อมูลเข้ามายังซีพียู ส่วนซีพียูทำงานจริงเพียง 13% สำหรับการค้นหาบนฮาร์ดดิสก์ และ 65% บน SSD แต่สำหรับ BlueDBM งานเกือบทั้งหมดจะถูกย้ายไปอยู่บน FPGA ที่ควบคุมหน่วยความจำแฟลชแทนทำให้ซีพียูหลักแทบไม่ต้องทำงานเลย
ทีมงานเสนอสถาปัตยกรรมนี้โดยยกตัวอย่างการใช้งานสามประเภท ได้แก่ การหาข้อมูลใกล้เคียง (nearest neighbor search), การเดินทางในกราฟ (graph traversal), และการค้นหาข้อความ (string search) ซึ่งเป็นงานที่พบได้บ่อยๆ ในงานประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่
งานวิจัย "BlueDBM: An Appliance for Big Data Analytics" ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการ International Symposium on Computer Architecture 2015
ที่มา - MIT
upic.me
Custom Search